27 ตัวอย่างเรซูเม่สายงานสาธารณสุข (Healthcare Resumes) ดีๆ

ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่เพิ่งจบการศึกษา และกำลังมองหางาน สิ่งแรกที่คุณควรทราบคือ ควรเขียนเรซูเม่อย่างไร หากคุณไม่สามารถเขียนเรซูเม่อย่างมืออาชีพได้ คุณก็มีโอกาสน้อยที่จะได้งานนั้น หากคุณต้องการเริ่มงานด้วยตำแหน่งเจ้าหน้าที่ชำนาญการสาธารณสุข คุณควรเขียนเรียงลำดับข้อมูลอย่างถูกต้อง อย่างไรก็ตาม งานด้านสาธารณสุขมีด้วยกันหลายส่วน โดยปกติแล้ว นายจ้างจะตัดสินว่าคุณมีคุณสมบัติเพียงพอหรือไม่ จากการอ่านเรซูเม่เป็นอันดับแรก

*** สั่งทำ Resume เนื้อหาดี ข้อความโดนๆ เลือกแบบสวยๆ ได้ง่ายๆ ภาษาไทย 450 บาท อังกฤษ 750 บาท ส่งได้ใน 2 วัน หรือหากมี Resume เดิมอยู่แล้ว แต่ต้องการแบบที่ทันสมัย Design สวยๆ เราจัดให้เพียง 200 บาท สั่งได้เลย ตลอด 24 ชั่วโมง


Line ID: @tfind

เจ้าหน้าที่ชำนาญการสาธารณสุขมีหน้าที่อะไรบ้าง?

ลักษณะงานด้านสาธารณสุขจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งงาน เช่น หากคุณทำงานในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ หน้าที่ของคุณคือ ดูแลคนไข้ ตรวจสุขภาพเบื่องต้น จ่ายยา ฉีดยา และอื่น ๆ หากคุณทำงานในตำแหน่งนักบำบัด หน้าที่ของคุณก็จะเหมือนกับพยาบาลวิชาชีพ และคุณยังต้องเลือกใช้การบำบัดที่เหมาะสมแก่คนไข้ เพื่อทำให้อาการของคนไข้ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม หน้าที่อาจจะปรับเปลี่ยนไปตามตำแหน่งงาน

เจ้าหน้าที่ชำนาญการสาธารณสุขต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?

คุณต้องจบการศึกษาในสาขาที่เกี่ยวข้องจากสถาบันที่มีชื่อเสียง หากคุณมีวุติการศึกษาระดับปริญญา คุณจะได้เปรียบกว่าคนอื่น ๆ และสิ่งที่จำเป็นอีกหนึ่งสิ่ง คือ ใบอนุญาตประกอบอาชีพ หากคุณต้องการทำงานในตำแหน่งผู้จัดการด้านสาธารณสุข คุณต้องได้รับการฝึกอบรมในด้านนี้ และประสบการณ์ทำงานก็เป็นส่วนหนึ่งในการประกอบการตัดสินใจ

เจ้าหน้าที่สาธารณะสุขได้รับค่าตอบแทนเท่าไหร่?

อย่างที่กล่าวไปแล้วว่างานด้านสาธารณสุขมีด้วยกันหลายส่วน ดังนั้น รายได้จะเปลี่ยนไปตามสถาบัน และตำแหน่งนั้น ๆ สำหรับผู้ที่เพิ่งทำงานด้านสาธารณสุข รายได้เฉลี่ยจะอยู่ที่ 846,000 ถึง 976,000 บาทต่อปี หากคุณเคยมีประสบการณ์ หรือการอบรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คุณจะได้รับค่าตอบแทนที่สูงขึ้น ตามผลงาน และประสบกาณ์ คุณอาจจะได้รับค่าตอบแทนสูงถึง 2,768,000 บาทต่อปี

ควรเขียนเรซูเม่สำหรับงานด้านสาธารณะสุขอย่างไร?

สิ่งแรกที่คุณต้องคำนึง คือ รูปแบบเรซูเม่ คุณควรเขียนข้อมูลต่าง ๆ ตามลำดับ และกล่าวถึงประวัติการศึกษาของคุณ หากคุณเคยเข้าอบรม หรือฝึกงานในตำแหน่งที่เกี่ยวข้อง คุณควรเขียนข้อมูลเหล่านั้นลงไปด้วย จากนั้นเขียนข้อมูลการทำงาน และเพิ่มจุดประสงค์ในการทำงานลงไปเพื่อสร้างความประทับใจให้นายจ้าง

สามารถใช้แบบเรซูเม่ในการเขียนได้ไหม?

หากคุณไม่เคยเขียนเรซูเม่มาก่อน และไม่แน่ใจว่าจะเริ่มเขียนอย่างไร หรือไม่ทราบว่าจะเขียนเรซูเม่ที่ดีอย่างไร คุณสามารถใช้แบบเรซูเม่ในการเขียนได้ แบบเรซูเม่จัดทำโดยมืออาชีพ คุณไม่จำเป็นต้องทำรูปแบบใหม่ เพียงแค่ใส่ข้อมูลของคุณลงไปแทนที่ตัวอย่าง แล้วคุณก็พร้อมที่จะส่งเรซูเม่เพื่อสมัครงานกับองค์กรที่คุณสนใจแล้ว

ตัวอย่างเรซูเม่งานสาธารณสุข

  1. ผู้ช่วยเภสัชกร (Pharmacy Technician)
  2. เภสัชกร (Pharmacist)
  3. พนักงานต้อนรับคลินิกทันตกรรม (Dental Office Receptionist)
  4. นักสังคมสงเคราะห์ (Social Worker)
  5. นักกายภาพบำบัด (Physiotherapist)
  6. ท้นตานามัย (Dental Hygienist)
  7. ผู้ช่วยหมอฟัน (Dental Assistant)
  8. นักบำบัดระบบหายใจ (Respiratory Therapist)
  9. นักรังสีการแพทย์ (Radiologic Technologist)
  10. ผู้จัดการสำนักงานแพทย์ (Medical Office Manager)
  11. นักเทคนิคการแพทย์ (Medical Technologist)
  12. สัตวแพทย์ (Veterinarian)
  13. เจ้าหน้าที่ห้องแลบ (Lab Technician)
  14. ผู้ดูแลคนป่วย (Caregiver)
  15. แพทย์ (Physician)
  16. นักเทคนิคการแพทย์เก็บตัวอย่างเลือด (Phlebotomist)
  17. แพทย์ฉุกเฉิน (Paramedic)
  18. นักศึกษาพยาบาล (Nursing Student)
  19. ผู้จัดการพยาบาล (Nurse Manager)
  20. เลขานุการแพทย์ (Medical Secretary)
  21. ผู้ช่วยแพทย์ (Medical Assistant)
  22. พยาบาลห้องผ่าตัด (Operating Room Nurse)
  23. พยาบาลวิชาชีพ (Registered Nurse)
  24. พยาบาลห้องฉุกเฉิน (Emergency Room Nurse)
  25. ผู้บริการงานสาธารณสุข (Healthcare Administrator)
  26. เจ้าหน้าที่พยาบาล (Staff Nurse Resume)
  27. ผู้แทนยา (Medical Representative Resume)